Skip to content
  • Buying a Car
    สนใจซื้อรถ
  • Buying Insurance
    สนใจซื้อประกัน
  • Car Service
    สนใจเข้ารับบริการ
  • Our Story
    อยากรู้จักเรา
  • Join Us
    ร่วมงานกับเรา
  • Horoscope
    ฤกษ์ดี…มีสิริมงคล
  • K.Motors Guru
    เค.มอเตอร์ส กูรู
  • Promotions
    โปรโมชั่น
  • Auto Reviews
    รีวิวรถยนต์
  • News & Events
    ข่าวและกิจกรรม
  • Privileges
    สิทธิพิเศษ
  • Privacy Policy
    นโยบายความเป็นส่วนตัว
    • Promotions
      โปรโมชั่น
    • Auto Reviews
      รีวิวรถยนต์
    • News & Events
      ข่าวและกิจกรรม
    • K.Motors Privileges
      สิทธิพิเศษ
    • Privacy Policy
      นโยบายความเป็นส่วนตัว
Call Center : 02-662-6555

 

 

 

 

 

 

 

 

 

+ 2

+ 1

+ 0

Facebook |
อัพเดท : 22 เมษายน 2562

การเหยียบเบรกแช่ไว้ขณะรถติดเป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง…จริงหรือ? แล้วควรทำอย่างไร

รถติดไม่เบรกแช่

เสี่ยงเบรกพัง ประสิทธิภาพการทำงานลดลง
เชื่อว่าหลายๆ คนต้องเคยเจอกับปัญหารถติดนานๆ รถแน่นเป็นจำนวนมาก จนต้องคอยหวาดระแวงว่าจะมีรถคันหน้าหรือคันหลังถอยหรือพุ่งมาชนหรือเปล่า หรือถ้าเราจอดอยู่เฉยๆ แล้ว ต้องทำอย่างไรให้รถนิ่ง ไม่ไปชนรถคันอื่นจนเสียหาย ซึ่งหลายคนเข้าใจว่าการเหยียบเบรกนั่นคือสิ่งที่ถูกต้อง แต่คุณกำลังเข้าใจผิดครับ

พฤติกรรม การเหยียบเบรกแช่ไว้ เป็นสิ่งที่ควรทำหรือไม่

เชื่อว่าหลายๆ คนต้องเคยเจอกับปัญหารถติดนานๆ รถแน่นเป็นจำนวนมาก จนต้องคอยหวาดระแวงว่าจะมีรถคันหน้าหรือคันหลังถอยหรือพุ่งมาชนหรือเปล่า หรือถ้าเราจอดอยู่เฉยๆ แล้ว ต้องทำอย่างไรให้รถนิ่ง ไม่ไปชนรถคันอื่นจนเสียหาย ซึ่งหลายคนเข้าใจว่าการเหยียบเบรกนั่นคือสิ่งที่ถูกต้อง แต่คุณกำลังเข้าใจผิดครับ

 

รถติดบนท้องถนนนาน ๆ ทำให้เราต้องนั่งแหงกบนรถอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ยิ่งการจราจรเป็นแบบเคลื่อนไหวสลับหยุดนิ่ง การเหยียบคันเร่งสลับเหยียบเบรกก็เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นกัน สถานการณ์แบบนี้จะทำให้การระบายอากาศของเครื่องยนต์รถย่ำแย่ และการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ไม่สมบูรณ์ จนเกิดของเหลือจากการเผาไหม้ ยิ่งรถติดแช่นานๆ ของเหลือจากการเผาไหม้ก็ยิ่งมีมากขึ้น ทำให้เข้าไปอุดตันหัวฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงและขัดขวางการทำงานของห้องเผาไหม้เครื่องยนต์ โดยคุณสามารถสังเกตได้จากอาการเสียงดังครืดๆๆ ที่มาจากตัวเครื่องครับ
สำหรับวิธีแก้ไขคือ พยายาหลีกเลี่ยงการขับรถในชั่วโมงรถติด หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ให้พยายามทำความสะอาดหัวฉีดน้ำมันทุกๆ 5,000 กิโลเมตร หรือให้หันมาใช้น้ำมันที่มีค่าออกเทนเพิ่มขึ้น เพื่อช่วยลดเสียงดังจากเครื่องยนต์ แต่ข้อควรจำก็คือการเปลี่ยนมาใช้น้ำมันที่มีค่าออกเทนมากขึ้นไม่สามารถกำจัดของเหลือจากการเผาไหม้ให้หมดได้

 

และที่สำคัญเวลารถติดนานๆ ไม่ควรเหยียบเบรกแช่งทิ้งไว้ เพราะจะทำให้อุณหภูมิของจานเบรกและผ้าเบรกที่สูงอยู่แล้วจากการขับขี่นั้นไม่สามารถระบายหรือลดลงได้ ทำให้ประสิทธิภาพในการเบรกลดลงหรืออาจทำให้จานเบรกหรือผ้าเบรกเสื่อมสภาพเร็วกว่าปกติ เช่น จานเบรกบิดเบี้ยวเป็นผลทำให้เบรกสั่น ผิวหน้าของผ้าเบรกด้านเนื้อผ้าเบรกแข็ง หรือกิ๊บล็อค (ตัวรองผ้าเบรกไม่ให้ดิ้นขณะเบรก) เกิดการล้าตัวจากความร้อนสูง แนะนำว่าหากอยู่ในการจราจรที่ติดขัดต้องจอดเป็นเวลามากกว่า 1-2 นาที ให้เข้าเกียร์ในตำแหน่ง N และดึงเบรกมือ แล้วยกเท้าออกจากแป้นเบรกเพื่อให้ผ้าเบรกเลื่อนตัวออกจากจานเบรกก็สามารถระบายความร้อนได้ครับ

 

ข้อแนะนำสำหรับการปกป้องเครื่องยนต์และเบรกรถของคุณให้อยู่นานๆ คือ ลดความเร็วในการขับขี่ลงและเว้นระยะห่างจากรถคันหน้าในระดับที่เหมาะสม ป้องกันไม่ให้เกิดการเบรกกะทันหัน แม้การเหยียบเบรกสลับกับการคันเร่งยนต์เป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ แต่การป้องกันไม่ให้เครื่องยนต์เกิดความเสียหายเป็นเรื่องที่สามารถทำได้ครับ

 

เรื่องที่น่าสนใจอื่นๆ

  • เติมน้ำมันแบบไหน ประหยัด และคุ้มกว่ากัน
  • ถอด ล้วง ทะลวง ไส้แคต ทำให้เครื่องยนต์แรงขึ้นจริงหรือไม่??
  • สัญญานเตือนก่อนโช๊คอัพพัง
  • อาการแผงคอยล์ร้อนอุดตัน
  • คุยกับช่างเค คลิก 
  • คุยกับเราได้ที่ https://www.facebook.com/toyotakmotors

 

ปรับแต่ง ดัดแปลงรถ เสี่ยงเซนเซอร์ (sensor) พัง!! เครื่องสะดุดโดยไม่ทราบสาเหตุ

การเสริมเติมแต่งที่มีแต่เสียกับเสีย เมื่อระบบ “เซนเซอร์” รถยนต์มีปัญหาจนนำมาซึ่งเครื่องยนต์รวน สะดุด จนไม่สามารถทำงานได้ปกติ ทั้งยังทำให้ความปลอดภัยลดลงอีกดียว ปัญหาเหล่าน...อ่านต่อ
การเสริมเติมแต่งที่มีแต่เสียกับเสีย เมื่อระบบ “เซนเซอร์” รถยนต์มีปัญหาจนนำมาซึ่งเครื่องยนต์รวน สะดุด จนไม่สามารถทำงานได้ปกติ ทั้งยังทำให้ความ...อ่านต่อ
Facebook |

วิธีการถนอม “เกียร์” เพื่อยืดอายุการใช้งานใด้นาน…

ดูแลชุดเกียร์ของคุณให้อยู่กับรถไปนานๆ
หลายคนรู้จัก “เกียร์” ว่าเป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เปลี่ยนอัตราส่วนการทดรอบระหว่างเครื่องยนต์กับล้อ ควบคุมให้รถสามารถเคลื่อนที่ได้ ซึ...อ่านต่อ
ดูแลชุดเกียร์ของคุณให้อยู่กับรถไปนานๆ
หลายคนรู้จัก “เกียร์” ว่าเป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เปลี่ยนอัตราส่วนการทดรอบระหว่างเครื่องยนต์กับล้อ ควบ...อ่านต่อ
Facebook |

เติมนํ้ามันชนิดไหนดีที่สุด ให้เหมาะสมกับรถที่คุณใช้?

รถแต่ละรุ่นต้องการน้ำมันแตกต่างกัน
หลายท่านมักตั้งคำถามว่าจะเลือกใช้น้ำมันเชื้อเพลิงเบนซิน ชนิดไหนถึงจะดีที่สุดสำหรับรถของตนเอง วันนี้เรามีแนวทางให้คุณได้ตัดสินใจกันดูว่าจะเลือก...อ่านต่อ
รถแต่ละรุ่นต้องการน้ำมันแตกต่างกัน
หลายท่านมักตั้งคำถามว่าจะเลือกใช้น้ำมันเชื้อเพลิงเบนซิน ชนิดไหนถึงจะดีที่สุดสำหรับรถของตนเอง วันนี้เรามีแนวทางให...อ่านต่อ
Facebook |

ไดชาร์จ (Alternator) ไม่ได้ชาร์จอย่างเดียว

หน้าที่ของไดชาร์จตรวจเช็กและดูแลยังไง
ความจริง เมื่อเครื่องยนต์ทำงานเครื่องใช้ไฟฟ้าในรถยนต์ทั้งหมดจะใช้ไฟจากไดชาร์จ ไดชาร์จไม่ได้มีหน้าที่ชาร์จไฟเข้าแบตเตอรี่โดยตรง แต่ที่ไดชาร์...อ่านต่อ
หน้าที่ของไดชาร์จตรวจเช็กและดูแลยังไง
ความจริง เมื่อเครื่องยนต์ทำงานเครื่องใช้ไฟฟ้าในรถยนต์ทั้งหมดจะใช้ไฟจากไดชาร์จ ไดชาร์จไม่ได้มีหน้าที่ชาร์จไฟเข...อ่านต่อ
Facebook |

“ดิสก์เบรก ดีกว่า ดรัมเบรก” จริงหรือไม่

ก่อนอื่นต้องขอบอกก่อนครับว่า การที่ทางผู้ผลิตรถยนต์ออกแบบทุกๆส่วนของรถให้มีความต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นดีไซน์ภายนอก หรือแม้แต่ระบบต่างๆในรถจนกระทั่งระบบเบรก ก็ออกแบบมาจากลักษณะการใช้งานที่สามารถตอบโจทย์ทุกๆรูปแบบการใช้งานของ...อ่านต่อ
ก่อนอื่นต้องขอบอกก่อนครับว่า การที่ทางผู้ผลิตรถยนต์ออกแบบทุกๆส่วนของรถให้มีความต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นดีไซน์ภายนอก หรือแม้แต่ระบบต่างๆในรถจนกระทั่งระบบเบรก ก็ออกแบบมาจากลักษณะการใช้งานที่สามารถ...อ่านต่อ
Facebook |

รู้ก่อนพัง… ของเหลวในรถยนต์ ควรเปลี่ยนตอนไหน?

ควรเปลี่ยนถ่ายตอนไหน ตรวจสอบอย่างไร?
ของเหลวในรถยนต์ควรเปลี่ยนตอนไหนดี ปกติการดูว่าเราต้องเข้าไปเปลี่ยนถ่ายน้ำมันหรือของเหลวตอนไหนส่วนมากจะมีอยู่ในคู่มือการรับประกันจากศูนย์บริก...อ่านต่อ
ควรเปลี่ยนถ่ายตอนไหน ตรวจสอบอย่างไร?
ของเหลวในรถยนต์ควรเปลี่ยนตอนไหนดี ปกติการดูว่าเราต้องเข้าไปเปลี่ยนถ่ายน้ำมันหรือของเหลวตอนไหนส่วนมากจะมีอยู่ใน...อ่านต่อ
Facebook |
  • คุ้มค่า ไม่เอาเปรียบราคา
  • ประกันคุณภาพ ซ่อมเหนือมาตรฐาน
  • บริการด้วยใจ บริการหลังการขาย
  • สิทธิพิเศษ ช่วยเหลือ 24 ชั่วโมง
รถยนต์นั่งส่วนบุคคล
  • YARIS ATIV
  • NEW YARIS
  • VIOS
  • ALTIS
  • C-HR
  • CAMRY
  • GR YARIS
  • GR SUPRA
รถยนต์เพื่อการพาณิชย์
  • REVO STANDARD CAB
  • REVO SMART CAB
  • REVO DOUBLE CAB
  • HIACE
  • COMMUTER
รถอเนกประสงค์
  • AVANZA
  • SIENTA
  • INNOVA
  • FORTUNER
  • COASTER
  • MAJESTY
  • VELLFIRE
  • ALPHARD
เมนูที่สนใจ
  • สนใจซื้อประกัน
  • สนใจเข้ารับบริการ
  • อยากรู้จัก เค.มอเตอร์ส
  • สนใจร่วมงาน
  • ค้นหาโชว์รูม
  • เค.มอเตอร์ส กูรู
  • เช็กฤกษ์ออกรถ
TOYOTA K.MOTORS TOYOTA’S DEALER

สำนักงานใหญ่ 769 ซ.สุขุมวิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

โทร: 02-662-6555
E-mail: customerservice@kmotors.co.th

  • Buying a Car
    สนใจซื้อรถ
  • Buying Insurance
    สนใจซื้อประกัน
  • Car Service
    สนใจเข้ารับบริการ
  • Our Story
    อยากรู้จักเรา
  • Join Us
    ร่วมงานกับเรา
  • Horoscope
    ฤกษ์ดี…มีสิริมงคล
  • K.Motors Guru
    เค.มอเตอร์ส กูรู
  • Promotions
    โปรโมชั่น
  • Auto Reviews
    รีวิวรถยนต์
  • News & Events
    ข่าวและกิจกรรม
  • Privileges
    สิทธิพิเศษ
  • Privacy Policy
    นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • รถยนต์นั่งส่วนบุคคล
  • รถยนต์เพื่อการพาณิชย์
  • รถยนต์อเนกประสงค์
  • YARIS ATIV

    เริ่มต้น 539,000 บาท

  • YARIS

    เริ่มต้น 549,000 บาท

  • VIOS

    เริ่มต้น 609,000 บาท

  • COROLLA ALTIS

    เริ่มต้น 839,000 บาท

  • C-HR

    เริ่มต้น 979,000 บาท

  • COROLLA CROSS

    เริ่มต้น 989,000 บาท

  • CAMRY

    เริ่มต้น 1,445,000 บาท

  • GR YARIS

    เริ่มต้น 2,690,000 บาท

  • GR SUPRA

    เริ่มต้น 5,199,000 บาท

  • HILUX REVO STANDARD CAB

    เริ่มต้น 544,000 บาท

  • HILUX REVO SMART CAB

    เริ่มต้น 619,000 บาท

  • HILUX REVO DOUBLE CAB

    เริ่มต้น 699,000 บาท

  • HIACE

    เริ่มต้น 999,000 บาท

  • COMMUTER

    เริ่มต้น 1,269,000 บาท

  • AVANZA

    เริ่มต้น 649,000 บาท

  • SIENTA

    เริ่มต้น 765,000 บาท

  • INNOVA CRYSTA

    เริ่มต้น 1,199,000 บาท

  • FORTUNER

    เริ่มต้น 1,319,000 บาท

  • COASTER

    เริ่มต้น 1,960,000 บาท

  • MAJESTY

    เริ่มต้น 1,709,000

  • VELLFIRE

    เริ่มต้น 3,889,000 บาท

  • ALPHARD

    เริ่มต้น 4,019,000 บาท